วันอังคารที่ ๑๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๐


ภาษาโรมาเนีย (limba română IPA /'limba ro'mɨnə/: ลิมบา โรมินะ) เป็นภาษาราชการของประเทศโรมาเนีย จัดเป็นภาษากลุ่มโรมานซ์ทางตะวันออกที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 26 ล้านคน ส่วนใหญ่อยู่ในประเทศโรมาเนียและวอยวอดีนา (Vojvodina)
ในเชิงภาษาศาสตร์แล้ว ภาษาโรมาเนียและภาษามอลโดวา (ภาษาราชการของประเทศมอลโดวา) เป็นประเภทต่าง ๆ ของภาษาเดียวกัน อย่างไรก็ดี อาจจัดเป็นภาษาที่ต่างกันโดยเหตุผลทางการเมือง
อารากอน · อะโรมาเนียน · อาร์ปีตัน · อัสตูรีอัส (อัสตูร์-เลออน) · โอแวร์ญา · เอาเปงก์ · เบอร์กันดี · คาตาลัน (บาเลนเซีย, บาเลอาร์) · ชองเปอนัว · คอร์ซิกา (กัลลูรา, ซัสซาร์) · ดัลเมเชีย · แจร์เนซีเย · เอมีเลียโน-โรมัญโญโล · เอซเตรมาดูรา · ฟาลา · ฟรอง-กงตัว · ฝรั่งเศส (กับ ฝรั่งเศสแบบคาจัน, ฝรั่งเศสแบบควิเบก) · ฟรีอูลี · กาลิเซีย · กัลโล · กาสกอง (อารัน) · เจนัว · อิสเตรีย · อิสโตร-โรมาเนีย · อิตาลี · แชร์รีเย · จูดีโอ-อิตาลี · ลาดิน · ลาดิโน · ลองเกอโดเซียง · ลิกูเรีย (โมเนกาสก์) · ลีมูแซง · ลอมบาร์ด · ลอแรง · เมเกลโน-โรมาเนีย · มีรันดา · โมซาราบิก · เนเปิลส์ · นอร์มัน · อ็อกซิตัน · ปีการ์ · พีดมอนต์ · ปัวโตแวง-แซงตงเช · โปรตุเกส (กับ โปรตุเกสแบบบราซิล) · โปรวองซาล · โรมาเนีย (มอลโดวา, วลาช) · โรมานช์ · ซาร์ดิเนีย · ซิซิลี · สเปน (กับ สเปนแบบรีโอปลาเตนเซ) · ชัวดิต · เวนิส · วัลลูน · ซาร์ฟาติก
ภาษาโรมาเนีย

ไม่มีความคิดเห็น: