วันอาทิตย์ที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐
วันเสาร์ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐
มลรัฐมอนแทนา (Montana) เป็นมลรัฐของสหรัฐอเมริกาตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันตกและ เป็นรัฐที่มีขนาดใหญ่อันดับ 4 ของประเทศ เมืองหลวงของรัฐคือ เฮเลนา พื้นที่ประมาณ 60% ของรัฐมอนแทนา มีลักษณะเป็นเทือกเขา ชื่อของรัฐมอนแทนา มาจากภาษาสเปน คำว่า montaña มีความหมายว่า ภูเขา เศรษฐกิจของรัฐมาจากทางด้านเกษตรกรรม ได้แก่ ข้าวบาร์เลย์ ข้าวหวีต ข้าวโอ๊ต และขณะเดียวกันก็มาจากการท่องเที่ยว โดยมีอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง ได้แก่ อุทยานแห่งชาติเกลเซียร์ และอุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตน
มลรัฐมอนแทนามีแม่น้ำสายที่สั้นที่สุดในโลก ชื่อ ไจแอนท์สปริง อยู่ที่เมือง Great Falls และมีเหมืองแร่ขนาดใหญ่ที่สุดในโลกที่เมือง Butte
เมืองโบราณ Virginia City เป็นอีกหนึ่งโบราณสถานที่น่าชม
เมืองWest Yellowstone เคยติดอันดับเมืองที่หนาวที่สุดในสหรัฐอเมริกาหลายครั้ง
วันศุกร์ที่ ๒๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐
วันพฤหัสบดีที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐
สระบุรี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย นับเป็นเสมือนด่านผ่านระหว่างภาคกลางและภาคอีสาน มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ มีความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ และพรั่งพร้อมด้วยแหล่งท่องเที่ยวมากมาย
จังหวัดสระบุรีมีพื้นที่ติดต่อกับจังหวัดทั้งภาคอีสานและภาคกลาง ได้แก่ ตอนเหนือ ติดกับจังหวัดลพบุรี ทางตะวันออกติดกับนครราชสีมา ทางใต้ติดกับนครนายก ปทุมธานี และอยุธยา ส่วนทางตะวันตก ติดกับอยุธยาและลพบุรี
ภูมิอากาศ
การปกครองแบ่งออกเป็น 13 อำเภอ 111 ตำบล 965 หมู่บ้าน
อำเภอเมืองสระบุรี
อำเภอแก่งคอย
อำเภอหนองแค
อำเภอวิหารแดง
อำเภอหนองแซง
อำเภอบ้านหมอ
อำเภอดอนพุด
อำเภอหนองโดน
อำเภอพระพุทธบาท
อำเภอเสาไห้
อำเภอมวกเหล็ก
อำเภอวังม่วง
อำเภอเฉลิมพระเกียรติ หน่วยการปกครอง
อุทยานแห่งชาติน้ำตกเจ็ดสาวน้อย
อุทยานแห่งชาติพระพุทธฉาย เส้นทางคมนาคม
รูปพระพุทธบาทสระบุรี ตราประจำจังหวัดสระบุรี
อินทนิลน้ำ (Lagerstroemia floribunda) ต้นไม้ประจำจังหวัด
ดอกไม้ประจำจังหวัด: ดอกสุพรรณิการ์ (Cochlospermum regium)
คำขวัญประจำจังหวัด : พระพุทธบาทสูงค่า เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ฐานผลิตอุตสาหกรรม เกษตรนำล้ำแหล่งเที่ยว หนึ่งเดียวกะหรี่ปั๊บนมดี ประเพณีตักบาตรดอกไม้งาม เหลืองอร่ามทุ่งทานตะวัน ลือลั่นเมืองชุมทาง
คำขวัญประจำจังหวัด (เดิม) : พระพุทธบาทลือนาม แหล่งน้ำอุดม นมเนื้อมากมาย หลากหลายโรงงาน ถิ่นข้าวสารพันธุ์ดี มีมะม่วงรสเลิศ งามบรรเจิดธรรมชาติ
วันพุธที่ ๒๖ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐
บทความนี้มีชื่อเป็นภาษาอังกฤษ เนื่องจากว่ายังไม่มีชื่อภาษาไทยที่กระชับ เหมาะสม หรือไม่รู้วิธีอ่านในภาษาไทย
Lernu! เป็นชื่อเว็บไซต์สำหรับสอนภาษาเอสเปรันโต ข้อความในเว็บจะมีการรับรองหลายภาษา การสอนในเว็บจะแบ่งออกเป็นหลายระดับชั้นตั้งแต่ง่ายจนถึงยาก โดยเนื้อหาจะประกอบไปด้วย คำศัพท์ ไวยากรณ์ และสำหรับผู้ที่เริ่มเรียนสามารถเรียกดูคำแปลได้ทันทีภายในเว็บ เว็บไซต์เปิดใช้เมื่อ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2545 นอกจากนี้ในเว็บ มีข้อมูลเกี่ยวกับ เพลง เกม เว็บบอร์ด ข้อมูลการสัมมนา และข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวกับภาษาเอสเปรันโต
คำว่า lernu เป็นภาษาเอสเปรันโต มีความหมายว่า "เรียน"
วันอังคารที่ ๒๕ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐
โชคชัย โชคอนันต์เป็นนักร้องลูกทุ่ง ที่มีผลงานเพลง "หลงเสียงนาง" ที่โด่งดังไปทั่วประเทศ เมื่อ พ.ศ. 2525 จนกระทั่งประเทศเพื่อนบ้านอย่างกัมพูชา ยังหยิบยืมทำนอง นำไปใส่เนื้อร้องภาษาเขมร
เข้าสู่วงการ
โชคชัย โชคอนันต์ เสียชีวิตเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2550 เวลา 02.20 น . ที่โรงพยาบาลศรีวิชัย ย่านบางกอกน้อย กทม.ด้วยอาการหัวใจวาย ขณะมีอายุได้ 55 ปี หลังจากที่ก่อนหน้านั้นป่วยเป็นทั้งตับแข็ง เบาหวาน และ หัวใจ ทำให้ต้องเข้าๆออกๆโรงพยาบาลอยู่หลายครั้ง
ศพของเขาได้รับการฝังตามความเชื่อของศาสนาอิสลามอยู่ที่มัสยิด ยันนาตุ้ลพิรเดาซ์ อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา
โชคชัย โชคอนันต์ มีบุตรสาว 1 คนชื่อ ชลธิชา ปาทาน กับ จันทรา ธีรวรรณ
วันจันทร์ที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐
วันอาทิตย์ที่ ๒๓ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐
วิกิพีเดียยังไม่มีบทความที่ตรงกับชื่อนี้
เริ่มบทความ เจ้าฟ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎร
ค้นหา เจ้าฟ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎร ในบทความอื่น ๆ
ดูบทความที่กล่าวถึง เจ้าฟ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎร
ถ้าคุณสร้างหน้านี้แล้วเมื่อไม่นานมานี้แต่มันยังไม่ปรากฏขึ้น เป็นไปได้ที่จะมีการล่าช้าในปรับปรุงฐานข้อมูล ลองล้างข้อมูลเก่าในเครื่อง หรือกรุณารอสักครู่และตรวจดูอีกครั้งก่อนที่ท่านจะลองสร้างหน้าใหม่
ถ้าคุณสร้างบทความชื่อเรื่องนี้ก่อนหน้านี้ มันอาจจะถูกลบไปแล้ว ดู ปูมการลบ และทำไมหน้าถึงโดนลบ
ถ้าต้องการถามคำถามเกี่ยวกับ เจ้าฟ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎร ให้ลองถามที่ ปุจฉา-วิสัชนา
วันเสาร์ที่ ๒๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐
มาตราวัดความยาวของไทย เป็นหลักในการวัดความยาวต่างๆ ในประเทศไทย ซึ่งมีการวัดความยาวมาแต่สมัยก่อน ปัจจุบัน ประเทศไทย นิยมใช้ หน่วยเอสไอ เป็นมาตราฐาน
มาตราวัดของไทยในประวัติศาสตร์และวรรณคดี
พระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีข้อความต่อไปนี้อยู่ "เสาโคมชัยใช้ไม้ยาว 11 วา" (พระราชพิธีจองเปรียง) "เกยสูง 4 ศอก ไม้ยาว 4 ศอก" (พิธีกะติเกยา) "ศิวลึงค์ตั้งอยู่บนฐานที่เรียกว่าโยนิ สูงตั้งแต่ 5 นิ้ว 6 นิ้ว ขึ้นไปจน 2 ศอก เศษ 2 ศอก" (พิธีศิวาราตรี) "ใช้ผ้าลายหกคืบผืน 1 ห้าคืบผืน 1 สี่คืบผืน 1" (พระราชพิธีพืชมงคลและจรดพระนังคัล) จะเห็นว่า หน่วยในมาตราวัดของไทยมี วา ศอก นิ้ว คืบ
พระราชพิธีสิบสองเดือน
แปลโดย ดร.ประเสริฐ ณ นคร มีข้อความเช่น "คนจะหลีกช้าง หลีกให้ไกล 30 วา 20 วา ผิช้างดุ ให้หลีกให้ไกล 110 วา 50 วา ผิหลีกม้าให้ไกล 1 วา 2 วา ผิงัวควายดุให้หลีกให้ไกล 3 วา 4 วา 5 วา 6 วา" มีหน่วยวัดเป็น วา
โคลงโลกนิติ
มีหน่วยวัดเช่น "ต้นกัลปพฤกษ์นั้นโดยสูงได้ 10 วา 2 ศอก โดยกว้างได้ 10 วา" "ชั้นฟ้าอันชื่อว่าดุสิดานั้นขึ้นไปเบื้องบนได้ 2,688,000,000 วา ผิแลจะคลนาด้วยโยชน์ได้ 336,000 โยชน์ จนถึงชั้นฟ้าอันชื่อว่านิมมานรดีนั้น" มีหน่วย วา ศอก โยชน์
พจนานุกรมศัพท์วรรณคดีไทยสมัยสุโขทัย ไตรภูมิกถา
มีข้อความ "สร้างพระมหาสถูป ณ เมืองเชียงแสน ซึ่งเรียกว่าวัดต้นแก้ว ก่อฐานพระเจดีย์กว้าง 15 วา สูง 1 เส้น 5 วา" "พระยาเมงรายได้ฟังคำอธิบายของสมเด็จพระร่วงเจ้าดังนั้น จึงตรัสว่า ข้าแต่สหายเจ้าทั้งสอง ผิดังนั้นเราจะตั้งล่วงแป(ด้านยาว) 1000 วา ล่วงขื่อ(ด้านสกัด) 400 วา เถิด" เป็นต้น มีหน่วย วา เส้น
ดังนั้นตามที่เราทราบกัน หน่วยวัดของไทยที่ใช้กันมาแต่เดิมก็มี ศอก วา คืบ นิ้ว โยชน์ เส้นความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยเหล่านี้ก็คือ 12 นิ้วเป็น 1 คืบ, 2 คืบเป็น 1 ศอก, 4 ศอกเป็น 1 วา, 20 วาเป็น 1 เส้น, และ 400 เส้นเป็น 1 โยชน์
พงศาวดารโยนก
นิ้วของไทยก็ไม่ใช่เท่ากับ นิ้วของฝรั่งที่บอกว่าเป็นความยาวของข้าวบาเลย์ 3 เมล็ดเรียงกัน และก็ไม่ได้เท่ากับ นิ้วมาตรฐานในหน่วยอังกฤษปัจจุบัน แต่นิ้วของไทยนั้นใช้ความยาวเท่ากับ ข้อปลายของนิ้วกลาง ก็มีบทที่เกี่ยวกับขนาดความยาวเป็นองคุลีหรือนิ้วอยู่ คือ บทที่ว่า
งิ้วนรกสิบหกองคุลีแหลม ดังขวากแซมเสี้ยมแซกแตกไสว
ใครทำชู้คู่ท่านครั้นบรรลัย ก็ต้องไปปีนต้นน่าขนพอง"
แสดงว่าหนามงิ้วนั้นยาวมาก ยาว 16 นิ้ว และคงอยู่ติด ๆ กัน เพราะถ้าอยู่ห่าง ๆ กัน คนที่ตกนรกโดนปีนต้นงิ้วคงเหยียบปีนได้สบาย
คำกล่าวของไทยอีกเรื่องหนึ่งเกี่ยวกับขนาดก็มีว่า ร่างกายของคนเรานั้น กว้างศอก ยาววา หนาคืบ ดังนั้นถ้าร่างกายของใครที่กว้างเกินศอก หนาเกินคืบของคนนั้น ก็เห็นจะต้องไปพิจารณาลดขนาดลงบ้างก็ดี
มาตราวัดขนาดยาวมากของไทย
แล้วขนาดที่เล็กกว่า นิ้ว มีอะไรบ้าง บางคนอาจเคยท่องได้ว่า 4 กระเบียด เป็น 1 นิ้ว แสดงว่ามีขนาดที่เรียกว่า กระเบียด อีกคำ บางแห่งมีคำ อนุกระเบียด อีก คือ 2 อนุกระเบียดเป็น 1 กระเบียด
ไม่มีมาตราวัดที่เล็กกว่านี้อีกแล้วของไทย มีแต่คำเล็ก ๆ ที่ไม่ใช่มาตราวัด เช่น ธุลี(ละออง, ฝุ่น) อนุภาค(ชิ้นหรือส่วนขนาดเล็กมาก, ในทางวิทยาศาสตร์มักใช้เรียกส่วนที่มีขนาดเล็กกว่าอะตอม เช่น อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา ภาษาอังกฤษใช้ว่า particle) อณู(ส่วนของสารที่ประกอบด้วยปรมาณู) และมีคำ ปรมาณู ซึ่งตรงนี้มีความสัมพันธ์ที่น่าสนใจแต่ไม่ทราบที่มาว่า 36 ปรมาณู เป็น 1 อณู ใครทราบกรุณาให้ความรู้ด้วย จะขอบพระคุณยิ่ง
และมีมาตราวัดระยะห่างที่ใกล้กันมาก ๆ คือ ห่างกันแค่เส้นยาแดงผ่าแปด ซึ่งในพจนานุกรมบอกว่าเป็นภาษาพูด หมายถึงห่างกันนิดเดียว ซึ่งคำว่า ยาแดง ในที่นี้ คงหมายถึงยาสูบชนิดหนึ่งของจีน เส้นแดง ซึ่งเป็นเส้นขนาดเล็ก ๆ อยู่แล้ว เอามาผ่าแปดส่วนอีก ขนาดก็ยิ่งเล็กลงไป บางทีก็ใช้คำว่า เส้นผมผ่าแปด
วันศุกร์ที่ ๒๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐
ยางไซไคลซ์ (Cyclised Rubber) เป็นยางที่มีโครงสร้างทางเคมีเป็นวง ซึ่งสามารถเตรียมได้จากทั้งน้ำยางสดและยางแห้ง ในกรณีของการใช้น้ำยางทำได้โดยการนำน้ำยางมาปรับสภาพให้มีความเสถียรต่อกรดโดยการใส่สารประเภทพอลิเอทธิลีนออกไซด์ ที่ช่วยเพิ่มความเสถียรต่อประจุบวก แล้วจึงเติมกรดอ่อนลงไป หลังจากนั้นเติมกรดเข้มข้นลงไปอย่างรวดเร็วเพื่อปรับสภาพโครงสร้างของยางแล้วให้ความร้อนเพื่อทำให้ปฎิกิริยาเกิดสมบูรณ์ สุดท้ายจึงแยกยางออกมาโดยการเทลงในน้ำเดือด จะได้ยางที่มีลักษณะเป็นผงสีน้ำตาลอ่อน ส่วนในกรณีที่ใช้ยางแห้งมาเตรียมยางไซไคลซ์ สามารถทำได้โดยการนำยางธรรมชาติมาบดด้วยเครื่องบดยางสองลูกกลิ้ง ผสมสารตัวเติมและสารอินทรีย์อื่น ๆ ที่ให้ประจุบวก 10 phr แล้วนำยางที่ผสมเสร็จมาทำให้ร้อนที่อุณหภูมิ 125-145°C เป็นเวลา 1-4 ชั่วโมง ได้ยางไซไคลซ์ที่มีลักษณะแข็ง หรือ อาจใส่สารจำพวกเกลือแฮไลด์แอมโฟเตอริก (SnCl2) เติมลงไปที่อุณหภูมิห้อง จะได้สารประกอบที่ไม่มีสี ทำให้เป็นผงโดยการเติมน้ำหรือแอลกอฮอลล์ ด้วยการเตรียมยางทั้งสองวิธีนี้ทำให้ได้ยางที่มีการปรับโครงสร้างโมเลกุล โดยโมเลกุลของยางธรรมชาติเกิดการเชื่อมโยงกันเอง ซึ่งทำให้สัดส่วนพันธะที่ไม่อิ่มตัวในโครงสร้างของยางลดลง ทำให้สมบัติยางเปลี่ยนไปและยางมีความแข็งแรงขึ้น ซึ่งการใช้งานโดยทั่วไปของยางไซไคลซ์ส่วนใหญ่จะนำไปผสมกับยางอื่น เนื่องจากมีน้ำหนักโมเลกุลต่ำ มีความแข็งแรงมากกว่ายางธรรมชาติ เมื่อผสมกับยางชนิดอื่นทำให้ยางมีความแข็งแรง การใช้งานด้านอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ใช้ในอุตสาหกรรมยางพื้นรองเท้า
วันพฤหัสบดีที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐
วันพุธที่ ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐
กรมสมเด็จพระศรีสุราลัย หรือ กรมสมเด็จพระศรีสุลาไลย หรือ เจ้าจอมมารดาเรียม (พ.ศ. 2313 - พ.ศ. 2380) พระราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ พระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
เจ้าจอมมารดาเรียม เดิมชื่อ เรียม เป็นบุตรีของนายบุญจัน ที่พระยานนทบุรีศรีมหาอุทยาน กับคุณเพ็ง ประสูติ ณ วันจันทร์ เดือน ๓ ขึ้น ๑๓ ค่ำ ปีขาลโทศก ศักราช ๑๑๓๒
พระองค์เจ้าทับ ต่อมาคือ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ และเสวยราชสมบัติเป็น พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระองค์เจ้าป้อม สิ้นพระชนม์ตั้งแต่ทรงพระเยาว์
พระองค์เจ้าหนูดำ สิ้นพระชนม์ตั้งแต่ทรงพระเยาว์
วันอังคารที่ ๑๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐
วันจันทร์ที่ ๑๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐
วอชิงตัน ดี.ซี. (Washington, D.C. โดย D.C. ย่อมาจาก District of Colombia) อยู่บริเวณทิศตะวันออกของสหรัฐอเมริกา อยู่ในเขตฝั่งซ้ายของแม่น้ำโปรโตแมค มีทำเนียบขาว ตึกสำคัญและตึกรัฐสภาสหรัฐอเมริกาเป็นสถานที่สำคัญ รวมถึงพิพิธภัณฑ์ที่สำคัญต่างๆ เช่น สถาบันสมิทโซเนียน
กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. สร้างในสมัย ประธานาธิบดี จอร์จ วอชิงตัน ของสหรัฐ สร้างขึ้นแทน ฟิลลาเดเฟียที่เคยเป็นเมืองหลวงของสหรัฐสมัยเป็นดินแดนโพ้นทะเลของอังกฤษ และมีอนุสาวรีย์วอชิงตัน หรือที่เรียกกันว่า แท่งดินสอ เป็นอนุสาวรีย์แท่งเสาหินอ่อน สูง 555 ฟุต สร้างเป็นเกียรติแก่ จอร์จ วอชิงตัน ประธานาธิบดีท่านแรกของสหรัฐอเมริกา
วันศุกร์ที่ ๑๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐
ความหมายอื่นของ นครราชสีมา ดูที่ นครราชสีมา (แก้ความกำกวม)
จังหวัดนครราชสีมา เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทย และมีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อีกชื่อที่เป็นที่รู้จักคือ โคราช มีอาณาเขตติดกับจังหวัดขอนแก่น จังหวัดชัยภูมิ, จังหวัดบุรีรัมย์, จังหวัดลพบุรี, จังหวัดสระบุรี, จังหวัดนครนายก, จังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดสระแก้ว
ประวัติศาสตร์
นักลงทุนทั้งในประเทศไทยและต่างชาติ ต่างให้ความสำคัญกับจังหวัดนี้มาก จึงได้ตั้งฉายาให้กับจังหวัดนี้ว่าเป็นมหานครแห่งอิสานเป็นเสมือนเมืองหลวงของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพราะเป็นศูนย์กลางทางด้านต่างๆ ของภูมิภาค ได้แก่ การปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงิน-การธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร ฯลฯ มีคำขวัญของเมืองโคราชว่า มหานครแห่งอิสาน เมืองศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ ประตูเชื่อมโยงพันธมิตร สร้างเศรษฐกิจสู่สากล
นครราชสีมาในปัจจุบัน
ปัจจุบันจังหวัดนครราชสีมา มีประชากรมากเป็นอันดับหนึ่งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมากเป็นอันดับสองของประเทศรองจากกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยประชากรกลุ่มใหญ่สองกลุ่มคือ ไทยโคราชและ ไทยอีสาน ชนกลุ่มน้อยได้แก่ มอญ กุย (หรือส่วย) ชาวบน จีน ไทยวน ญวน และ แขก
ไทยโคราช เป็นคนไทยแท้ทั้งเชื้อชาติ และภาษา แต่สำเนียงพูดแปร่งไปบ้าง เดิมถิ่นนี้ชาวพื้นเมืองเป็นละว้า ชาวไทยได้อพยพเข้ามาอยู่อาศัย สมัยกรุงศรีอยุธยา พระเจ้าอู่ทองให้ขุนหลวงพะงั่ว ยกกองทัพมารวบรวมดินแดนแถบนี้เข้ากับกรุงศรีอยุธยา พระเจ้าอู่ทอง โปรดฯ ให้กองทหารอยุธยาตั้งด่านอยู่ประจำ และส่งช่างชาวอยุธยามาก่อสร้างบ้านเรือน วัดวาอาราม เป็นอันมาก ชาวไทยอยุธยาได้อพยพเข้ามาอยู่อาศัยเพิ่มขึ้นเป็นอันมากในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ชาวอยุธยา ได้อพยพมาอยู่นครราชสีมาอีกระลอกหนึ่งคือ คราวเสียกรุงครั้งที่ 2 และมีชาวไทยชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกได้อพยพเข้ามาเพิ่มด้วย [[ชาวไทยกลุ่มนี้และชาวไทยพื้นเมืองเดิม(เข้าใจว่าเป็นชาวสยามลุ่มน้ำมูล(ไท-เสียม) อาจมี เขมร และ มอญ ปนอยู่ด้วย)สืบเชื้อสาย เป็นชาวไทยโคราช]] และรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีสืบทอดกันมา
กลุ่มไทยโคราชเป็นกลุ่มที่แสดงเอกลักษณ์ของเมืองนครราชสีมา เพราะสำเนียงแตกต่างจากลุ่มอื่น เป็นกลุ่มที่พูดภาษาไทยโคราชซึ่งคล้ายคลึงภาษาไทยกลางแต่สำเนียงเพี้ยน เหน่อ ห้วนสั่น เกิ่นเสียง มีคำไทยลาว(อีสาน)ปะปนบ้างเล็กน้อย ชาวไทยโคราชแต่งกายแบบไทยภาคกลาง รับประทานข้าวเจ้า อาหารทั่วไปคล้ายคลึงภาคกลาง ขนบธรรมเนียม ประเพณ๊ และวัฒนธรรมคล้ายไทยภาคกลาง ปัจจุบัน กลุ่มไทยโคราชอาศัยอยู่ทุกอำเภอในจังหวัดนครราชสีมา ยกเว้น บางอำเภอที่มีชาวไทยลาวมากกว่า( บัวใหญ่ ปักธงชัย สูงเนิน) และยังพบชาวไทยโคราช ในบางส่วนของจังหวัดสระบุรี ลพบุรี ชัยภูมิ (อำเภอบำเหน็จณรงค์, จัตุรัส) บุรีรัมย์ (อำเภอเมือง, นางรอง, ละหานทราย)
ลาวเวียง (เวียงจันทน์) หรือ ไทยอีสาน ลาวเวียง ไทยลาว หรือ ไทยอีสาน เป็นกลุ่มชนที่อพยพเข้ามาทีหลังมีจำนวนมากรองจากไทยโคราชอาศัยอยู่มากในบางอำเภอของจังหวัดนครราชสีมา เช่น อำเภอบัวใหญ่ ปักธงชัย สูงเนิน เป็นต้น ไทยอีสานพูดภาษาอีสาน ขนบธรรมเนียมประเพณีเหมือนชาวอิสานทั่วไป กลุ่มไทยอีสาน อพยพเข้ามาอยู่ในจังหวัดนครราชสีมา หลายรุ่น ส่วนใหญ่อพยพเข้ามาอยู่สมัยสงครามปราบปรามเมืองเวียงจันทร์ สมัยธนบุรี มีการกวาดต้อนครอบครัวลาวเข้ามาอยู่ในหัวเมืองชั้นใน และอพยพเข้ามาโดยสมัครใจเพิ่มขึ้นในระยะหลัง
สำหรับประชากรกลุ่มอื่นเป็นชนกลุ่มน้อย ไม่ขอกล่าวในที่นี้
ประชากร
รถยนต์ จากกรุงเทพฯ เดินทางไปนครราชสีมาได้หลายเส้นทาง เส้นทางที่นิยมที่สุดคือ จากกรุงเทพฯ ใช้ทางหลวงหมายเลข 1 (พหลโยธิน) แยกเข้าทางหลวงหมายเลข 2 (มิตรภาพ) ที่สระบุรี ไปจนถึงนครราชสีมา รวมระยะทางประมาณ 259 กิโลเมตร อีกเส้นทางคือ จากกรุงเทพฯ ผ่านมีนบุรี ฉะเชิงเทรา พนมสารคาม กบินทร์บุรี ปักธงชัย ถึงนครราชสีมา รวมระยะทางประมาณ 273 กิโลเมตร หรืออาจเลือกใช้เส้นทางรังสิต-นครนายก ต่อทางหลวงหมายเลข 33 ไปกบินทร์บุรี แล้วแยกเข้าทางหลวงหมายเลข 304 ผ่านวังน้ำเขียว ปักธงชัย เข้านครราชสีมา
รถโดยสารประจำทาง บริษัท ขนส่ง จำกัด มีรถโดยสารทั้งรถธรรมดาและรถปรับอากาศ ออกจาก สถานีขนส่งหมอชิต 2 ไปนครราชสีมาทุกวันและตลอดทั้งวัน รายละเอียดสอบถาม โทร. 0 2936 1880, 0 2936 0657 , 0 2936 2852-66 บริษัทเอกชนที่เปิดบริการเดินรถคือ บริษัท ราชสีมาทัวร์ โทร. 0 44 24 5443 กรุงเทพฯ โทร. 0 2936 1615 และ บริษัทแอร์โคราช โทร. 0 44 25 2999 กรุงเทพฯ โทร. 0 2936 2252
สถานีขนส่งที่นครราชสีมามีสองแห่งคือ สถานีขนส่งแห่งที่ 1 ถนนบุรินทร์ โทร. 0 44 24 2899, 0 4426 8899 และสถานีขนส่งแห่งที่ 2 ถนนมิตรภาพ-ขอนแก่น โทร. 0 44 25 6006-9 ต่อ 175, 176 (รถปรับอากาศ) , 178 (รถธรรมดา) www.transport.co.th
รถไฟ มีรถไฟออกจากสถานีรถไฟกรุงเทพฯ (หัวลำโพง) ไปนครราชสีมาทุกวัน รายละเอียดสอบถามที่หน่วยบริการเดินทาง การรถไฟแห่งประเทศไทย โทร. 1690, 0 2223 7010, 0 2223 7020 www.railway.co.th
การเดินทางภายในตัวจังหวัด มีรถสองแถวและรถเมล์สายต่างๆ วิ่งบริการภายในตัวเมืองและบริเวณใกล้เคียง โดยแบ่งออกเป็นหลายสายด้วยกัน หากต้องการความสะดวกยิ่งขึ้นลงอาจใช้บริการรถสามล้อถีบ และรถตุ๊กตุ๊กที่วิ่งให้บริการผู้โดยสารในเขตตัวเมือง โดยตกลงราคาก่อนการเดินทาง หากต้องการเดินทางไปต่างอำเภอ สามารถขึ้นรถได้ที่สถานีขนส่งแห่งที่ 1 ถนนบุรินทร์ มีทั้งรถสองแถวและรถโดยสารประจำทางให้บริการ ส่วนสถานีขนส่งแห่งที่ 2 นั้นมีรถโดยสารไปเฉพาะอำเภอพิมายและไปด่านเกวียน-โชคชัย
การเดินทางระหว่างจังหวัด รถโดยสารวิ่งบริการระหว่างจังหวัดจะออกจากสถานีขนส่งแห่งที่ 2 (ถนนมิตรภาพ-ขอนแก่น) โดยมีรถจากนครราชสีมาไปยังจังหวัดต่าง ๆ ในภาคอีสานได้แก่ จังหวัดชัยภูมิ ขอนแก่น อุดรธานี หนองคาย นครพนม สกลนคร กาฬสินธุ์ อุบลราชธานี บุรีรัมย์ (สายเก่าผ่านนางรอง และสายใหม่ผ่านห้วยแถลง) สุรินทร์ (ผ่านนางรอง-บ้านตะโก) นอกจากนี้ยังมีรถโดยสารไปยังจังหวัดในภาคอื่นได้แก่ กรุงเทพฯ ชลบุรี พัทยา ระยอง จันทบุรี สระบุรี อยุธยา นครปฐม สมุทรสงคราม ราชบุรี เพชรบุรี หัวหิน ลพบุรี สิงห์บุรี นครสวรรค์ พิษณุโลก เชียงใหม่ และเชียงราย (ไปจนถึงแม่สาย)
การเดินทาง
การปกครองแบ่งออกเป็น 32 อำเภอ 293 ตำบล 3423 หมู่บ้าน
อำเภอเมืองนครราชสีมา
อำเภอครบุรี
อำเภอเสิงสาง
อำเภอคง
อำเภอบ้านเหลื่อม
อำเภอจักราช
อำเภอโชคชัย
อำเภอด่านขุนทด
อำเภอโนนไทย
อำเภอโนนสูง
อำเภอขามสะแกแสง
อำเภอบัวใหญ่
อำเภอประทาย
อำเภอปักธงชัย
อำเภอพิมาย
อำเภอห้วยแถลง
อำเภอชุมพวง
อำเภอสูงเนิน
อำเภอขามทะเลสอ
อำเภอสีคิ้ว
อำเภอปากช่อง
อำเภอหนองบุญมาก
อำเภอแก้งสนามนาง
อำเภอโนนแดง
อำเภอวังน้ำเขียว
อำเภอเทพารักษ์
อำเภอเมืองยาง
อำเภอพระทองคำ
อำเภอลำทะเมนชัย
อำเภอบัวลาย
อำเภอสีดา
อำเภอเฉลิมพระเกียรติ หน่วยการปกครอง
บุคคลที่มีชื่อเสียงจากนครราชสีมา
ท้าวสุรนารี บุคคลในประวัติศาสตร์
ไก่ชน ส.วรพิน
นภา เกียรติวันชัย
พงษ์ศักดิ์เล็ก ศิษย์คนองศักดิ์
รัตนชัย ส.วรพิน
สกัด พรทวี
อุดมพร พลศักดิ์ - นักกีฬาหญิงคนแรกของประเทศไทย ที่ได้เหรียญทองโอลิมปิก นักกีฬา
ชัยคุปต์ - นักเขียน
สิทธิชัย โภไคยอุดม - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พระสงฆ์
สุนารี ราชสีมา
สมมาตร ราชสีมา
เสกสรรค์ ศุขพิมาย (เสก โลโซ)
พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ นักร้อง
ตั้งอยู่บนที่ราบสูงโคราช มีแม่น้ำสำคัญคือแม่น้ำมูล
ตัวเมืองประกอบด้วยประตูเมือง 4 ทิศ คือ ประตูชุมพล (ทิศตะวันตก), ประตูพลแสน (ทิศเหนือ - อีกชื่อคือประตูน้ำ), ประตูพลล้าน (ทิศตะวันออก) และประตูชัยณรงค์ (ทิศใต้-อีกชื่อคือประตูผี) ภายในตัวเมืองมีสระน้ำ 4 สระ คือ สระแก้ว, สระแมว, สระขวัญ และสระบัว
ภูมิศาสตร์
ต้นไม้ประจำจังหวัด: สาธร (Millettia leucantha)
คำขวัญประจำจังหวัด: เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน
อักษรย่อ: นม สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
จังหวัดนครราชสีมามีสถาบันการศึกษาชั้นสูงหลายแห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล มหาวิทยาลัยรามคำแหง สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี วิทยาลัยนครราชสีมา วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา วิทยาลัยเทคนิคนครราชสีมา วิทยาลัยเกษตรกรรมและเทคโนโลยีนครราชสีมา วิทยาลัยเทคนิคสุรนารี วิทยาลัยอาชีวศึกษนครราชสีมา วิทยาลัยเทคนิคหลวงพ่อคูณ
และมีสถาบันการศึกษาชั้นสูงอื่นอีก เช่น วิทยาลัยเทคนิคปักธงชัย วิทยาลัยการอาชีพปากช่อง วิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่ วิทยาลัยการอาชีพชุมพวง วิทยาลัยการอาชีพพิมาย วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา [1]เป็นต้น
การศึกษา
สถานที่ท่องเที่ยว
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย ห้างสรรพสินค้า
ตำรวจท่องเที่ยว โทร. 1155, 0 4434 1777-9
ท่าอากาศยานนครราชสีมา โทร. 0 4425 9524
บมจ. การบินไทย (สนามบิน) โทร. 0 4425 5425
ประชาสัมพันธ์จังหวัด โทร. 0 4425 1818
โรงพยาบาลมหาราช โทร. 0 4425 4990-1
สถานีขนส่งแห่งที่ 1 โทร. 0 4424 2889
สถานีขนส่งแห่งที่ 2 โทร. 0 4425 6006-9
สถานีตำรวจภูธร โทร. 0 4424 2010
สถานีรถไฟ โทร. 0 4424 2044
สำนักงานจังหวัด โทร. 0 4424 3798
วันพฤหัสบดีที่ ๑๓ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐
วันพุธที่ ๑๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐
วันอังคารที่ ๑๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐
ฟุตบอลเป็นกีฬาที่นิยมที่สุดในประเทศไทย โดยฟุตบอลทีมชาติไทยเป็นทีมที่ประสบความสำเร็จในระดับอาเชียน ฟุตบอลอาชีพไทยแลนด์พรีเมียร์ลีกบริหารงานโดยสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย และโปรลีกจัดการโดยการกีฬาแห่งประเทศไทย
ในประเทศไทยในอดีตมีการจัดการแข่งขันฟุตบอลระดับโลกหลายครั้งซึ่งรวมถึง เอเชียนคัพ ฟุตบอลเอเชียเยาวชน และ ฟุตบอลโลกหญิงเยาวชน และในปี พ.ศ. 2550 จะมีการจัดการแข่งขันเอเชียนคัพ 2007 โดยประเทศไทยร่วมเป็นเจ้าภาพ
ฟุตบอลอาชีพในประเทศไทย
ระบบเปลี่ยนแปลงที่เริ่มใช้ ตั้งแต่ปี 2550
ระบบลีกฟุตบอลในไทย
ระบบในปี 2549
ประเทศไทย ไดรับเกียรติเป็นเจ้าภาพการแข่งขันฟุตบอลในระดับนานาชาติหลายครั้งได้แก่
นอกจากนี้้ยังมีการแข่งขันกีฬาที่สำคัญโดยมีการแข่งขันฟุตบอลร่วมด้วยเช่นใน เอเชียนเกมส์ และ ซีเกมส์ และยังมีการแข่งขันที่จัดขึ้นเป็นรายปีเช่น คิงส์คัพ ที่มีการเชิญทีมชาติอื่นมาร่วมเล่น
เอเชียนคัพ - เจ้าภาพ 2 ครั้ง - 1972, 2007 (เจ้าภาพร่วม)
ฟุตบอลเอเชียเยาวชน - เจ้าภาพ 10 ครั้ง - โดย 9 ครั้งจัดที่กรุงเทพ และ 1 ครั้งจัดที่เชียงใหม่ - 1961, 1962, 1967, 1969, 1972, 1974, 1976, 1980, 1982, 1998 (เชียงใหม่)
ฟุตบอลโลกหญิงเยาวชน - เจ้าภาพ 1 ครั้ง - 2004
ฟุตบอลเอเชียหญิง - เจ้าภาพ 2 ครั้ง - 1983, 2003 เจ้าภาพการแข่งขัน
ไทยลีก
โปรลีก
คิงส์คัพ - การแข่งขันฟุตบอลระหว่างชาติจัดขึ้นในประเทศไทย
ควีนส์คัพ - การแข่งขันฟุตบอลประจำปีระหว่างทีมสโมสรในประเทศไทย
งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ-ธรรมศาสตร์ - งานแข่งขันฟุตบอลระหว่าง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดขึ้นทุกปี
จตุรมิตรสามัคคี - งานแข่งขันฟุตบอลระหว่างโรงเรียน 4 โรงเรียน อัสสัมชัญ กรุงเทพคริสเตียน สวนกุหลาบ และ เทพศิรินทร์
กีฬา 5 พระเกี้ยว
เอฟเอคัพ (ไทย)
ยามาฮ่าคัพ
โตโยต้าคัพ การแข่งขันฟุตบอลที่เป็นที่สนใจ
ในระดับเยาวชน
ฟุตบอลในกีฬาแห่งชาติ
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานภูพานราชนิเวศน์คัพ (ภาคอีสาน)
ฟุตบอลชิงโล่พระราชทาน (ภาคใต้)
ฟุตบอลชิงถ้วยนายก ของกระทรวงกีฬา
ฟุตบอลไทคัพ
ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์ประเทศไทย ของกระทรวงกีฬา
ฟุตบอลกีฬายาวชนแห่งชาติ
ฟุตบอลโค้กคัพ (อายุ 16 ปี)
ฟุตบอลเขตการศึกษาทั่วประเทศ (18 ปี)
ฟุตบอลกีฬานักเรียนเทศบาล (อายุ 12, 15 ปี) แฟนฟุตบอลไทย
สโมสรฟุตบอลธนาคารกสิกรไทย เป็นสโมสรเดียวในประเทศไทยที่ชนะเลิศการแข่งขัน เอเอฟซี แชมเปียนส์ลีก ซึ่งเป็นการแข่งขันระดับเอเชีย โดยชนะเลิศ 2 ครั้ง ในปี 2537 และ 2538 สำหรับทีมอื่นที่ประสบความสำเร็จในระดับเอเชียรองลงมาคือ สโมสรฟุตบอลบีอีซี เทโรศาสน ได้อันดับรองชนะเลิศในปี 2546
วันจันทร์ที่ ๑๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐
Super Mario Bros. 3
แฟมิคอม (Famicom) (「ファミコン」, Famikon, ファミコン) คนไทยมักเรียกเครื่องเล่นเกมชนิดนี้ว่า เครื่องแฟมิลี่
มะซะยุกิ อุเอะมุระได้เป็นผู้ออกแบบระบบเกม และวางจำหน่ายในญี่ปุ่นเมื่อ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2526 ในราคา 14,800 เยน โดยมีเกม 3 เกมที่ออกมาพร้อมกัน คือ ดองกีคอง (Donkey Kong) ดองกีคองจูเนียร์ (Donkey Kong Jr.) และป็อปอาย (Popeye) ส่วนเกมที่ได้รับความนิยมในเครื่องเล่นเกมชนิดนี้คือซูเปอร์มาริโอบราเธอร์ส (Super Mario Bros.) และซูเปอร์มาริโอบราเธอร์ส 3 (Super Mario Bros. 3)
วันศุกร์ที่ ๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐
โจนาธาน ไอฟ์ (Jonathan Ive) (เกิดเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1967 ที่ลอนดอน) ปัจจุบันเป็นรองประธานอาวุโสฝ่ายออกแบบอุตสาหกรรม ของบริษัทแอปเปิล คอมพิวเตอร์ และเป็นผู้ออกแบบ iMac ซึ่งช่วยกอบกู้วิกฤตการณ์ของแอปเปิล
ทีมงานของไอฟ์ออกแบบ iMac ทุกรุ่น, Power Mac เริ่มที่รุ่น G3 ขาวฟ้า, Power Mac G4 Cube, PowerBook นับจากรุ่นไททาเนียม และไอพ็อด
โจนาธาน ไอฟ์ไม่ค่อยเปิดเผยตัวต่อสาธารณะชนมากนัก และมักยกผลงานการออกแบบให้เป็นของทีมงาน
วันพฤหัสบดีที่ ๖ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐
บทความนี้มีชื่อเป็นภาษาอังกฤษ เนื่องจากว่ายังไม่มีชื่อภาษาไทยที่กระชับ เหมาะสม หรือไม่รู้วิธีอ่านในภาษาไทย
ในทางคอมพิวเตอร์ Portable Document Format (PDF) คือรูปแบบแฟ้มลักษณะหนึ่งที่พัฒนาโดยบริษัทอะโดบีซิสเต็มส์ สำหรับการแสดงเอกสาร ที่สามารถใช้งานได้ในทุกระบบปฏิบัติการ และยังคงลักษณะเอกสารเหมือนต้นฉบับ เอกสารในรูปแบบ PDF สามารถจัดเก็บ ตัวอักษร รูปภาพ รูปลายเส้น ในลักษณะเป็นหน้าหนังสือ ตั้งแต่ หนึ่งหน้า หรือหลายพันหน้าได้ในแฟ้มเดียวกัน PDF เป็นมาตรฐานที่เปิดให้คนอื่นสามารถเขียนโปรแกรมมา ทำงานร่วมกับ PDF ได้
การใช้งานแฟ้มแบบ PDF เหมาะสมสำหรับงานที่การแสดงผลให้มีลักษณะเดียวกันกับต้นฉบับ ซึ่งแตกต่างกับการใช้งานรูปแบบอื่น เช่น HTML การแสดงผลของ HTML จะแตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับโปรแกรมเบราว์เซอร์ที่ใช้ และจะแสดงผลต่างกัน ถ้าใช้คอมพิวเตอร์ต่างกัน
ตัวอย่างซอฟต์แวร์ที่สร้างแฟ้ม PDF
Ghostscript
iText
OpenOffice.org
Panda library
PdfTeX
วันพุธที่ ๕ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐
วันอังคารที่ ๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐
วันจันทร์ที่ ๓ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐
รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน พ.ศ. 2519
17 ทหารกล้า (2519)
- ผู้กำกับ: ไพฑูรย์ รตานนท์
นำแสดงโดย: ยอดชาย เมฆสุวรรณ, อุเทน บุญยงค์, ดวงใจ หทัยกาญจน์, สุริยา ชินพันธุ์, ภูมิ พัฒนายุทธ
5 ผู้ยิ่งใหญ่ (2519)
กบฎหัวใจ (2519)
กระดังงากลีบทอง (2519)
- ผู้กำกับ: ชนะ คราประยูร
นำแสดงโดย: สุริยา ชินพันธุ์, มยุรา ธนะบุตร, มยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวช, ชนะ ศรีอุบล, มานพ อัศวเทพ, วิไลวรรณ วัฒนพานิช
กามเทพแสนกล (2519)
กุ้งนาง (2519)
เกมส์ (2519)
ไก่หลง (2519)
- ผู้กำกับ: เสนอ คราประยูร
นำแสดงโดย: สมบัติ เมทะนี
ขยะ (2519)
- ผู้กำกับ: ปรีชา ประภาชื่น
นำแสดงโดย: กรุง ศรีวิไล, นัยนา ชีวานันท์, ไพโรจน์ ใจสิงห์, ศิริขวัญ นันทศิริ, สะอาด เปี่ยมพงศ์สานต์, สายัณห์ จันทรวิบูลย์
ขอเพียงรัก (2519)
- ผู้กำกับ: อนุมาศ บุนนาค
นำแสดงโดย: สมบัติ เมทะนี, นัยนา ชีวานันท์, ปิยะมาศ โมนยะกุล, ช่อเพชร ชัยเนตร, ชนะ ศรีอุบล
ขุนศึก (2519)
- ผู้กำกับ: สักกะ จารุจินดา
นำแสดงโดย: สมบัติ เมทะนี, นัยนา ชีวานันท์
คนบาป (2519)
คมกุหลาบ (2519)
- ผู้กำกับ: บรรจง เลาหะจินดา
นำแสดงโดย: กรุง ศรีวิไล, อรัญญา นามวงศ์, ทัศน์วรรณ เสนีย์วงศ์, นิรุตต์ ศิริจรรยา, ศศิมา สิงห์ศิริ
คมเฉือนคม (2519)
- ผู้กำกับ: พยุง พยกุล
นำแสดงโดย: ไชยา สุริยัน, สมบัติ เมทะนี, นาท ภูวนัย, ทัศน์วรรณ เสนีย์วงศ์, ปริศนา ชบาไพร, ไพโรจน์ ใจสิงห์
ความรักสีดำ (2519)
- ผู้กำกับ: พันธุ์เทพ อรรถไกวัลวที
นำแสดงโดย: สมบัติ เมทะนี, พิศมัย วิไลศักดิ์, ศิริขวัญ นันทศิริ, มานพ อัศวเทพ, วิทยา สุขดำรงค์, วิไลวรรณ วัฒนพานิช
ใครใหญ่ใครอยู่ (2519)
เงาราหู (2519)
- ผู้กำกับ: เปี๊ยก โปสเตอร์
นำแสดงโดย: จีระศักดิ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา, เนาวรัตน์ ยุกตะนันท์, เปียทิพย์ คุ้มวงศ์, มานพ อัศวเทพ, อดุลย์ ดุลยรัตน์, กันทิมา ดาราพันธ์
จรเข้ฟาดหาง (2519)
จักรวาลยอดรัก (2519)
- ผู้กำกับ: พันเทพ อรรถไกรวัลวที
นำแสดงโดย: สมบัติ เมทะนี, พิศมัย วิไลศักดิ์
เจ้าแม่ (2519)
- ผู้กำกับ: ม.จ.ทิพยฉัตร ฉัตรชัย
นำแสดงโดย: อรัญญา นามวงศ์, สมบัติ เมทะนี, สุริยา ชินพันธุ์, ดวงใจ หทัยกาญจน์
จ่าทมิฬ (2519)
- ผู้กำกับ: ฉลวย ศรีรัตนา
นำแสดงโดย: สมบัติ เมทะนี, อรัญญา นามวงศ์, เนรัญชลา เถลิงศักดิ์, เปียทิพย์ คุ้มวงศ์, ดามพ์ ดัสกร, อนันต์ สัมมาทรัพย์
ฉันไม่อยากเป็นคุณนาย (2519)
ชะตาชีวิต (2519)
- ผู้กำกับ: อนันต์ ชลวนิช
นำแสดงโดย: ยอดชาย เมฆสุวรรณ, เพชรา เชาวราษฎร์, ครรชิต ขวัญประชา, รุ้งลาวัลย์ ศรีปฏิมากูร, ประจวบ ฤกษ์ยามดี, โสภา สถาพร
ชาติอาชาไนย (2519)
- ผู้กำกับ: ชาย มีคุณสุต
นำแสดงโดย: สมบัติ เมทะนี, พิศมัย วิไลศักดิ์, อุเทน บุญยงค์, ภาวนา ชนะจิต, ครรชิต ขวัญประชา, มานพ อัศวเทพ
ชาติเกลือ (2519)
ชุมเสือ (2519)
- ผู้กำกับ: วัฒนสิทธิ์
นำแสดงโดย: กรุง ศรีวิไล, ทัศน์วรรณ เสนีย์วงศ์, ไพโรจน์ ใจสิงห์, ทักษิณ แจ่มผล, สายัณห์ จันทรวิบูลย์, ดามพ์ ดัสกร
ชุมแพ (2519)
ช่องว่างระหว่างหัวใจ (2519)
- ผู้กำกับ: ฉลวย ศรีรัตนา
นำแสดงโดย: สมบัติ เมทะนี, อรัญญา นามวงศ์, สุริยา ชินพันธุ์, ดวงใจ หทัยกาญจน์, มานพ อัศวเทพ, ทาริกา ธิดาทิตย์
แซ่บ (2519)
- ผู้กำกับ: บัญญัติ เดชากรณ์
นำแสดงโดย: สมบัติ เมทะนี, ไชยา สุริยัน, อรัญญา นามวงศ์, นัยนา ชีวานันท์, ศิริขวัญ นันทศิริ, ประจวบ ฤกษ์ยามดี
ดรรชนีไฉไล (2519)
- นำแสดงโดย: กรุง ศรีวิไล, อรัญญา นามวงศ์, อาวุธ พิทักษ์พงษ์, รัชนู บุญชูดวง, ประจวบ ฤกษ์ยามดี, ดามพ์ ดัสกร
ดับสุริยา (2519)
- ผู้กำกับ: พันธุ์เทพ อรรถไกวัลวที
นำแสดงโดย: สมบัติ เมทะนี, พิศมัย วิไลศักดิ์, ไพโรจน์ ใจสิงห์, ศิริขวัญ นันทศิริ, ธัญญรัตน์ โลหะนันท์, มานพ อัศวเทพ
เดียมส์ (2519)
แดงอังคาร (2519)
- ผู้กำกับ: เนรมิต
นำแสดงโดย: กรุง ศรีวิไล, สรพงศ์ ชาตรี, อรัญญา นามวงศ์, เรวดี ปัตตะพงษ์, นิรุตต์ ศิริจรรยา, สายัณห์ จันทรวิบูลย์
ตามล่า อ.ต.ล. (2519)
ทองลูกบวบ (2519)
ทะเลฤาอิ่ม (2519)
เทวดาเดินดิน (2519)
- ผู้กำกับ: ม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล
นำแสดงโดย: สรพงศ์ ชาตรี, วิยะดา อุมารินทร์, ต่อลาภ กำพุศิริ, น้ำเงิน บุญหนัก, บู๊ วิบูลย์นันท์, กิตติ ดัสกร
ท้องนานสะเทือน (2519)
- ผู้กำกับ: ศุภชัย โตสัมพันธ์
นำแสดงโดย: สมบัติ เมทะนี, อรัญญา นามวงศ์, ดามพ์ ดัสกร, ลักษณ์ อภิชาติ, เมตตา รุ่งรัตน์, สังข์ทอง สีใส
ท้ามฤตยู (2519)
นรกตะรุเตา (2519)
- ผู้กำกับ: รุจน์ รณภพ
นำแสดงโดย: สมบัติ เมทะนี
นักเลงมหากาฬ (2519)
- ผู้กำกับ: โยธิน เทวราช
นำแสดงโดย: กรุง ศรีวิไล, สรพงศ์ ชาตรี, อรัญญา นามวงศ์, อุเทน บุญยงค์, ไพโรจน์ ใจสิงห์, นิรุตต์ ศิริจรรยา
นักเลงสามสลึง (2519)
นางงูเห่า (2519)
- นำแสดงโดย: สมบัติ เมทะนี, อรัญญา นามวงศ์, รุ้งลาวัลย์ ศรีปฏิมากูร, ประจวบ ฤกษ์ยามดี, ลักษณ์ อภิชาติ, โดม สิงห์โมฬี
นางสาวลูกดก (2519)
- ผู้กำกับ: ชาลี อินทรวิจิตร
นำแสดงโดย: พิศมัย วิไลศักดิ์, สมบัติ เมทะนี, นัยนา ชีวานันท์, สมบูรณ์ สุขีนัย, ภิญโญ ปานนุ้ย
นางแบบมหาภัย (2519)
น้ำตาลใกล้มด (2519)
- ผู้กำกับ: รัตน์ เศรษฐภักดี
นำแสดงโดย: สมบัติ เมทะนี, อรัญญา นามวงศ์, ธัญญรัตน์ โลหะนันท์, ชุมพร เทพพิทักษ์, ดวงใจ หทัยกาญจน์, วิทยา สุขดำรงค์
น้ำตาหยดสุดท้าย (2519)
แบ๊งค์ (2519)
บ่อเพลิงที่โพทะเล (2519)
- ผู้กำกับ: เสถียร ธรรมเจริญ
นำแสดงโดย: สมบัติ เมทะนี, มยุรา ธนะบุตร, เนรัญชลา เถลิงศักดิ์, สายัณห์ จันทรวิบูลย์, ดวงดาว จารุจินดา, ดวงใจ หทัยกาญจน์
บ้องไฟ (2519)
- ผู้กำกับ: สุรพล รัตนกำพล
นำแสดงโดย: กรุง ศรีวิไล, ภาวนา ชนะจิต, มานพ อัศวเทพ
ปลัดปืนโหด (2519)
ปูลม (2519)
- ผู้กำกับ: ชุมพร เทพพิทักษ์
นำแสดงโดย: สมบัติ เมทะนี, เนาวรัตน์ ยุกตะนันท์, ช่อเพชร ชัยเนตร, ครรชิต ขวัญประชา, มานพ อัศวเทพ, รอง เค้ามูลคดี
แปดเหลี่ยมสิบสองคม (2519)
ป่ากามเทพ (2519)
ป่าอันตราย (2519)
ป่าแสนสวย (2519)
เผาขน (2519)
แผ่นดินของเรา (2519)
- ผู้กำกับ: ส.อาสนจินดา, แสนยากร
นำแสดงโดย: เนาวรัตน์ ยุกตะนันท์, สมบัติ เมทะนี, นัยนา ชีวานันท์, ช่อเพชร ชัยเนตร, นิรุตต์ ศิริจรรยา, ส.อาสนจินดา
ไผ่กำเพลิง (2519)
- ผู้กำกับ: คมน์ อรรฆเดช
นำแสดงโดย: สมบัติ เมทะนี, อรัญญา นามวงศ์, ยอดชาย เมฆสุวรรณ, นัยนา ชีวานันท์, มยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวช, ครรชิต ขวัญประชา
พรายกินรี (2519)
- นำแสดงโดย: นัยนา ชีวานันท์, สมบัติ เมทะนี, มยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวช, มานพ อัศวเทพ, อนันต์ สัมมาทรัพย์, ดวงใจ หทัยกาญจน์
เพลิงทรนง (2519)
- ผู้กำกับ: จรัญ พรหมรังสี
นำแสดงโดย: สมบัติ เมทะนี, นาท ภูวนัย, อรัญญา นามวงศ์, ดวงใจ หทัยกาญจน์, เกชา เปลี่ยนวิถี, มานพ อัศวเทพ
เพลิงแค้น (2519)
เพลิงแพร (2519)
- ผู้กำกับ: แสนยากร
นำแสดงโดย: สมบัติ เมทะนี, อรัญญา นามวงศ์, มิสบอนี่, ชนะ ศรีอุบล, อนันต์ สัมมาทรัพย์, บาหยัน พันธุ์โสภา
เพศสัมพันธ์อันตราย (2519)
เพื่อนคู่แค้น (2519)
- ผู้กำกับ: นันทวัต
นำแสดงโดย: กรุง ศรีวิไล, นิรุตต์ ศิริจรรยา, นัยนา ชีวานันท์, ครรชิต ขวัญประชา, เปียทิพย์ คุ้มวงศ์, โขมพัสตร์ อรรถยา
พ่อไก่แจ้ (2519)
- ผู้กำกับ: เชิด ทรงศรี
นำแสดงโดย: กรุง ศรีวิไล, ทัศน์วรรณ เสนีย์วงศ์, สุพรรณ บูรณพิมพ์, สุวิน สว่างรัตน์, รอง เค้ามูลคดี
ฟ้ามิอาจกั้น (2519)
ภัยมืด (2519)
มนต์เรียกผี (2519)
มหาอุตม์ (2519)
มือปืนขี้แย (2519)
เมียเสือ (2519)
- ผู้กำกับ: นิวัฒน์ จิตรเสรีพงษ์
นำแสดงโดย: สมบัติ เมทะนี, อรัญญา นามวงศ์, มานพ อัศวเทพ, สายัณห์ จันทรวิบูลย์, เมตตา รุ่งรัตน์, ชูศรี มีสมมนต์
แมงดาปีกทอง (2519)
- ผู้กำกับ: แมน ธีระพล
นำแสดงโดย: กรุง ศรีวิไล, อรัญญา นามวงศ์, ศิริขวัญ นันทศิริ, ไพโรจน์ ใจสิงห์, นิรุตต์ ศิริจรรยา, สายัณห์ จันทรวิบูลย์
แม่ดอกรักเร่ (2519)
- นำแสดงโดย: กรุง ศรีวิไล, อรัญญา นามวงศ์, ทัศน์วรรณ เสนีย์วงศ์, มยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวช, สมภพ เบญจาธิกุล, โขมพัสตร์ อรรถยา
แม่นาคบุกโตเกียว (2519)
แม่ปลาช่อน (2519)
แม่หม้ายใจถึง (2519)
ยอดกระล่อน (2519)
- ผู้กำกับ: สุคนธ์ คิ้วเหลี่ยม
นำแสดงโดย: ยอดชาย เมฆสุวรรณ, ภาวนา ชนะจิต, สุคนธ์ คิ้วเหลี่ยม, สีเทา, ชื้นแฉะ
รถไฟ เรือ เมล์ ลิเก ตำรวจ (2519)
ลาวคำหอม (2519)
ลืมตัว (2519)
ลูกหลง (2519)
ลูกเมียเช่า (2519)
วัยอลวน (2519)
- ผู้กำกับ: เปี๊ยก โปสเตอร์
นำแสดงโดย: ไพโรจน์ สังวริบุตร, ลลนา สุลาวัลย์
วัยอันตราย (2519)
- ผู้กำกับ: วัฒนสิทธิ์
นำแสดงโดย: กรุง ศรีวิไล, ธัญญรัตน์ โลหะนันท์, สุริยา ชินพันธุ์, เนรัญชลา เถลิงศักดิ์, ดวงใจ หทัยกาญจน์
วีรบุรุษกองขยะ (2519)
- ผู้กำกับ: ชุติมา สุวรรณรัต
นำแสดงโดย: สรพงศ์ ชาตรี
วีรบุรุษจอมโหด (2519)
- ผู้กำกับ: ฉลวย ศรีรัตนา
นำแสดงโดย: สมบัติ เมทะนี, อรัญญา นามวงศ์, ทัศน์วรรณ เสนีย์วงศ์, สายัณห์ จันทรวิบูลย์, อนันต์ สัมมาทรัพย์, ดามพ์ ดัสกร
สวรรค์ยังมีชั้น (2519)
สวรรค์ไม่มีวันรู้ (2519)
สัตว์มนุษย์ (2519)
สันดานชาย (2519)
สันติ วีณา (2519)
- ผู้กำกับ: มารุต
นำแสดงโดย: นาท ภูวนัย, นัยนา ชีวานันท์, สมภพ เบญจาธิกุล, มารศรี ( สันติ วีณา ), เสถียร ธรรมเจริญ, จวง ( สันติ วีณา )
สามนักสู้ผู้ยิ่งใหญ่ (2519)
- ผู้กำกับ: ทับทิมสยาม
นำแสดงโดย: สรพงศ์ ชาตรี, ไพโรจน์ ใจสิงห์, อุเทน บุญยงค์, ภาวนา ชนะจิต, ดวงใจ หทัยกาญจน์, รุ้งลาวัลย์ ศรีปฏิมากูร
สามสิงห์ดงเสือ (2519)
สามหัวใจ (2519)
- ผู้กำกับ: ชุมพร เทพพิทักษ์
นำแสดงโดย: สมบัติ เมทะนี, ปิยะมาศ โมนยะกุล, ดวงใจ หทัยกาญจน์, ครรชิต ขวัญประชา, ดามพ์ ดัสกร, ลักษณ์ อภิชาติ
สายลับกระจับเหล็ก (2519)
- ผู้กำกับ: สนาน คราประยูร
นำแสดงโดย: สมบัติ เมทะนี, ยอดชาย เมฆสุวรรณ, นัยนา ชีวานันท์
สาวหมาป่า (2519)
- ผู้กำกับ: ชาญ ชาญทองมั่น
นำแสดงโดย: สมบัติ เมทะนี, อรัญญา นามวงศ์, ชูศรี มีสมมนต์, เมตตา รุ่งรัตน์, ชุมพร เทพพิทักษ์
สาวแก่ (2519)
- นำแสดงโดย: ไพโรจน์ สังวริบุตร, ทัศน์วรรณ เสนีย์วงศ์, นัยนา ชีวานันท์, มยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวช, มานพ อัศวเทพ, เสถียร ธรรมเจริญ
สิงห์สลัม (2519)
สู้ (2519)
- ผู้กำกับ: ประทีป โกมลภิส
นำแสดงโดย: สมบัติ เมทะนี, ธัญญรัตน์ โลหะนันท์, ไพโรจน์ ใจสิงห์, ศิริขวัญ นันทศิริ, มานพ อัศวเทพ, วีณารัตน์ จินตัษเฐียร
เสน่หาอาลัย (2519)
เสาร์ 5 (2519)
- ผู้กำกับ: วินิจ ภักดีวิจิตร
นำแสดงโดย: กรุง ศรีวิไล, สรพงศ์ ชาตรี, ไพโรจน์ ใจสิงห์, นิรุตต์ ศิริจรรยา, สิงหา สุริยง, ทัศน์วรรณ เสนีย์วงศ์
เสือ 4 แคว (2519)
- ผู้กำกับ: พร ไพโรจน์
นำแสดงโดย: สมบัติ เมทะนี, กรุง ศรีวิไล, นัยนา ชีวานันท์, อัมรัตน์ ขัตติยา, เรวดี ปัตตะพงษ์, เกชา เปลี่ยนวิถี
เสือกเกิดมาจน (2519)
- ผู้กำกับ: ปริญญา ลีละศร
นำแสดงโดย: กรุง ศรีวิไล, นัยนา ชีวานันท์, นิรุตต์ ศิริจรรยา, ศิริขวัญ นันทศิริ, สะอาด เปี่ยมพงศ์สานต์, สายัณห์ จันทรวิบูลย์
หมัดไทย (2519)
- ผู้กำกับ: ฉลวย ศรีรัตนา
นำแสดงโดย: นาท ภูวนัย, ทัศน์วรรณ เสนีย์วงศ์, ช่อเพชร ชัยเนตร, ครรชิต ขวัญประชา, ดามพ์ ดัสกร
เหมือนฝัน (2519)
เหมือนหนึ่งในฝัน (2519)
อสูรสวาท (2519)
อัศวิน 19 (2519)
อีสาวอันตราย (2519)
- ผู้กำกับ: ชนะ คราประยูร
นำแสดงโดย: สรพงศ์ ชาตรี, สุริยา ชินพันธุ์, ทัศน์วรรณ เสนีย์วงศ์, ปิยะมาศ โมนยะกุล, นิรุตต์ ศิริจรรยา, ลักษณ์ อภิชาติ
โอ้ลูกรัก (2519)
- ผู้กำกับ: พันคำ
นำแสดงโดย: สมบัติ เมทะนี, พิศมัย วิไลศักดิ์, ยอดชาย เมฆสุวรรณ, นัยนา ชีวานันท์, ด.ญ.อัญญรัตน์ สุทัศน์ ณ อยุธยา
ไอ้ทองแดง (2519)
ไอ้ปืนแฝด (2519)
ไอ้เพชร (2519)
- ผู้กำกับ: เชาว์ มีคุณสุต
นำแสดงโดย: กรุง ศรีวิไล, สรพงศ์ ชาตรี, อรัญญา นามวงศ์, ศศิมา สิงห์ศิริ, ดามพ์ ดัสกร, ลักษณ์ อภิชาติ
ไอ้แมงดา (2519)
ไอ้แสบ (2519)
อ้อมอกพ่อ (2519)
- ผู้กำกับ: จรัญ พรหมรังสี
นำแสดงโดย: สมบัติ เมทะนี, พิศมัย วิไลศักดิ์, สายัณห์ จันทรวิบูลย์, เมตตา รุ่งรัตน์
- ผู้กำกับ: จรัญ พรหมรังสี
- ผู้กำกับ: เชาว์ มีคุณสุต
- ผู้กำกับ: พันคำ
- ผู้กำกับ: ชนะ คราประยูร
- ผู้กำกับ: ฉลวย ศรีรัตนา
- ผู้กำกับ: ปริญญา ลีละศร
- ผู้กำกับ: พร ไพโรจน์
- ผู้กำกับ: วินิจ ภักดีวิจิตร
- ผู้กำกับ: ประทีป โกมลภิส
- นำแสดงโดย: ไพโรจน์ สังวริบุตร, ทัศน์วรรณ เสนีย์วงศ์, นัยนา ชีวานันท์, มยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวช, มานพ อัศวเทพ, เสถียร ธรรมเจริญ
- ผู้กำกับ: ชาญ ชาญทองมั่น
- ผู้กำกับ: สนาน คราประยูร
- ผู้กำกับ: ชุมพร เทพพิทักษ์
- ผู้กำกับ: ทับทิมสยาม
- ผู้กำกับ: มารุต
- ผู้กำกับ: ฉลวย ศรีรัตนา
- ผู้กำกับ: ชุติมา สุวรรณรัต
- ผู้กำกับ: วัฒนสิทธิ์
- ผู้กำกับ: เปี๊ยก โปสเตอร์
- ผู้กำกับ: สุคนธ์ คิ้วเหลี่ยม
- นำแสดงโดย: กรุง ศรีวิไล, อรัญญา นามวงศ์, ทัศน์วรรณ เสนีย์วงศ์, มยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวช, สมภพ เบญจาธิกุล, โขมพัสตร์ อรรถยา
- ผู้กำกับ: แมน ธีระพล
- ผู้กำกับ: นิวัฒน์ จิตรเสรีพงษ์
- ผู้กำกับ: เชิด ทรงศรี
- ผู้กำกับ: นันทวัต
- ผู้กำกับ: แสนยากร
- ผู้กำกับ: จรัญ พรหมรังสี
- นำแสดงโดย: นัยนา ชีวานันท์, สมบัติ เมทะนี, มยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวช, มานพ อัศวเทพ, อนันต์ สัมมาทรัพย์, ดวงใจ หทัยกาญจน์
- ผู้กำกับ: คมน์ อรรฆเดช
- ผู้กำกับ: ส.อาสนจินดา, แสนยากร
- ผู้กำกับ: ชุมพร เทพพิทักษ์
- ผู้กำกับ: สุรพล รัตนกำพล
- ผู้กำกับ: เสถียร ธรรมเจริญ
- ผู้กำกับ: รัตน์ เศรษฐภักดี
- ผู้กำกับ: ชาลี อินทรวิจิตร
- นำแสดงโดย: สมบัติ เมทะนี, อรัญญา นามวงศ์, รุ้งลาวัลย์ ศรีปฏิมากูร, ประจวบ ฤกษ์ยามดี, ลักษณ์ อภิชาติ, โดม สิงห์โมฬี
- ผู้กำกับ: โยธิน เทวราช
- ผู้กำกับ: รุจน์ รณภพ
- ผู้กำกับ: ศุภชัย โตสัมพันธ์
- ผู้กำกับ: ม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล
- ผู้กำกับ: เนรมิต
- ผู้กำกับ: พันธุ์เทพ อรรถไกวัลวที
- นำแสดงโดย: กรุง ศรีวิไล, อรัญญา นามวงศ์, อาวุธ พิทักษ์พงษ์, รัชนู บุญชูดวง, ประจวบ ฤกษ์ยามดี, ดามพ์ ดัสกร
- ผู้กำกับ: บัญญัติ เดชากรณ์
- ผู้กำกับ: ฉลวย ศรีรัตนา
- ผู้กำกับ: วัฒนสิทธิ์
- ผู้กำกับ: ชาย มีคุณสุต
- ผู้กำกับ: อนันต์ ชลวนิช
- ผู้กำกับ: ฉลวย ศรีรัตนา
- ผู้กำกับ: ม.จ.ทิพยฉัตร ฉัตรชัย
- ผู้กำกับ: พันเทพ อรรถไกรวัลวที
- ผู้กำกับ: เปี๊ยก โปสเตอร์
- ผู้กำกับ: พันธุ์เทพ อรรถไกวัลวที
- ผู้กำกับ: พยุง พยกุล
- ผู้กำกับ: บรรจง เลาหะจินดา
- ผู้กำกับ: สักกะ จารุจินดา
- ผู้กำกับ: อนุมาศ บุนนาค
- ผู้กำกับ: ปรีชา ประภาชื่น
- ผู้กำกับ: เสนอ คราประยูร
- ผู้กำกับ: ชนะ คราประยูร
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)